รถ AGV คืออะไร
รถ AGV (Auto Guiding Vehicle) หรือเรียก
กันว่า รถขนส่ง อัตโนมัติ มีระบบควบคุมเส้นทาง และ
นำทางการขับเคลื่อนด้วยการเหนี่ยวนำของสนาม
แม่เหล็กที่ฝังอยู่ในพื้นผิวทางเดินรถ AGV หรือแบบ
ควบคุมโดยการตรวจจับด้วยแสงเลเซอร์ เพื่อให้รถ
AGV สามารถเคลื่อนที่ไปตามเส้นทางที่กำหนดได้
ด้วยการประมวลผลควบคุมการทำงาน โดยไมโคร-
คอนโทรลเลอร์
❖ มูลเหตุจูงใจ
1. เพื่อลดการเข้า-ออกของพนักงานขับรถขนส่ง
2. เพื่อลดความล่าช้าจากการขนส่ง Part เนื่องจากการจราจรที่ติดขัด
3. เพื่อลดความความเมื่อยล้าจากการทำงานของพนักงานขนส่ง
4. เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษารถขนส่งที่มีจจำนวนมาก
สายพานลำเลียง
สายพานลำเลียงเป็นอุปกรณ์ขนถ่ายวัสดุทางกลที่มีความจำเป็นอย่างยิ่งในการขนถ่ายวัสดุปริมาณมวล ที่นิยมใช้กันอย่าง กว้างขวางในงานอุตสาหกรรมหลากหลายประเภท โดยเฉพาะในเหมืองถ่านหิน โรงงานผลิตไฟฟ้า โรงงานผลิตเหล็ก บ่อกรวด และบ่อทราย เหมืองแร่ โรงงานผลิตปูนซีเมนต์ อุตสาหกรรมเคมี และอุตสาหกรรมอาหาร ปัจจุบันสายพานลำเลียงสามารถ สร้างได้กว้างไม่น้อยกว่า 3 เมตร มีความยาวมากกว่า 7,000 เมตร และมีความเร็วมากกว่า 10 เมตร/วินาที ระบบสายพานลำเลียงแบบธรรมดา มีส่วนประกอบที่สำคัญดังแสดงในรูปที่ 1 ส่วนรูปที่ 2 แสดงระบบสายพานลำเลียง แบบแอ่ง เมื่อติดตั้งสายพานลำเลียงประหยัดพลังงาน ความเสียดทานที่เกี่ยวข้องกับระบบสายพานลำเลียงจะเกิดขึ้น เมื่อมี การขับเคลื่อนสายพานลำเลียง ความเสียดทานจากการกลิ้งของสายพานลำเลียงจะมีค่ามากที่สุด เมื่อเปรียบเทียบกับความ เสียดทานที่เกิดขึ้นเนื่องจากปัจจัยอื่น และเกิดขึ้นเมื่อสายพานลำเลียงลื่นไถลบนล้อพยุง (idler) ดังแสดงในรูปที่ 3 อัตราส่วน ของความเสียดทานจากการกลิ้งเปรียบเทียบกับความเสียดทานรวมทั้งหมดของสายพานลำเลียง ขึ้นอยู่กับสภาพการใช้งานใน แต่ละกรณี อัตราส่วนของความเสียดทานนี้จะเพิ่มขึ้น เมื่อความยาวรวมของระบบสายพานลำเลียงมาก และความลาดชัน น้อยหรือขนถ่ายวัสดุแนวราบ
สายพานลำเลียงเป็นอุปกรณ์ขนถ่ายวัสดุทางกลที่มีความจำเป็นอย่างยิ่งในการขนถ่ายวัสดุปริมาณมวล ที่นิยมใช้กันอย่าง กว้างขวางในงานอุตสาหกรรมหลากหลายประเภท โดยเฉพาะในเหมืองถ่านหิน โรงงานผลิตไฟฟ้า โรงงานผลิตเหล็ก บ่อกรวด และบ่อทราย เหมืองแร่ โรงงานผลิตปูนซีเมนต์ อุตสาหกรรมเคมี และอุตสาหกรรมอาหาร ปัจจุบันสายพานลำเลียงสามารถ สร้างได้กว้างไม่น้อยกว่า 3 เมตร มีความยาวมากกว่า 7,000 เมตร และมีความเร็วมากกว่า 10 เมตร/วินาที ระบบสายพานลำเลียงแบบธรรมดา มีส่วนประกอบที่สำคัญดังแสดงในรูปที่ 1 ส่วนรูปที่ 2 แสดงระบบสายพานลำเลียง แบบแอ่ง เมื่อติดตั้งสายพานลำเลียงประหยัดพลังงาน ความเสียดทานที่เกี่ยวข้องกับระบบสายพานลำเลียงจะเกิดขึ้น เมื่อมี การขับเคลื่อนสายพานลำเลียง ความเสียดทานจากการกลิ้งของสายพานลำเลียงจะมีค่ามากที่สุด เมื่อเปรียบเทียบกับความ เสียดทานที่เกิดขึ้นเนื่องจากปัจจัยอื่น และเกิดขึ้นเมื่อสายพานลำเลียงลื่นไถลบนล้อพยุง (idler) ดังแสดงในรูปที่ 3 อัตราส่วน ของความเสียดทานจากการกลิ้งเปรียบเทียบกับความเสียดทานรวมทั้งหมดของสายพานลำเลียง ขึ้นอยู่กับสภาพการใช้งานใน แต่ละกรณี อัตราส่วนของความเสียดทานนี้จะเพิ่มขึ้น เมื่อความยาวรวมของระบบสายพานลำเลียงมาก และความลาดชัน น้อยหรือขนถ่ายวัสดุแนวราบ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น